วันจันทร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2557

วิธีการเลือกอาหารสุขภาพเพื่อหลีกเลี่ยงโรคมะเร็ง และแนะนำ เบต้ากลูแคน จากรีเทิร์น

เทคนิคการเลือกอาหารสุขภาพ


อาหารเสริมเพื่อสุขภาพ

สำหรับผู้ป่วยมะเร็ง แนะนำ

 

 

อาหารสำหรับผู้ป่วยมะเร็ง  

 

การเลือกอาหารเป็นสิ่งที่มีความสำคัญ 


ไม่แพ้การให้การรักษาด้วยวิธีต่าง ๆ เนื่องจากจะสามารถ

ทำให้ร่างกายแข็งแรง พร้อมที่จะรับการรักษาที่มีผลข้างเคียง 

ช่วยในการสร้างเซลล์ใหม่ และทำให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกัน

ที่สามารถป้องกันการติดเชื้อ อย่างที่ได้เล่าให้ฟังไปแล้ว 

ว่า ผู้ป่วยมะเร็งต้องการแคลอรีจากอาหารที่มากขึ้น 

และต้องการโปรตีนในปริมาณที่มากขึ้นลองดูเทคนิคเหล่านี้

ที่จะช่วยให้สามารถมีพลังงาน และโปรตีนมากขึ้นได้


- เลือกทานอาหารให้หลากหลาย ลองทานอาหารใหม่ ๆ ที่ไม่เคยทาน 
เพราะว่า บางครั้งอาจเป็นอาหารที่คุณทานไหวในช่วงที่รักษา

- ทดลองเลือกอาหารที่มากจากพืช เช่น จากถั่วต่าง ๆ 
แทนการทานเนื้อสัตว์บ้างเป็นบางมื้อ

- พยายามทานผักให้ครบ 5 สี เพื่อให้ได้สารอาหารและวิตามิน
จากผักหลากหลายชนิด

- จำกัดการรับประทานอาหารมัน ๆ โดยเฉพาะที่มาจากสัตว์ 
ถ้าดื่มนมเลือกแบบไขมันต่ำ

- จำกัดอาหารเค็ม อาหารที่ปิ้งย่าง

- เลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์

- พยายามรักษาน้ำหนักตัวเอาไว้  และอย่าลืมที่ออกกำลังกาย

เลือกอาหารว่างที่มีประโยชน์

บ่อยครั้งที่อาหารมื้อหลักจะทานได้ไม่มาก ดังนั้นอาหารว่าง
จะเป็นสิ่งที่สำคัญในการมาเสริมแคลอรีและโปรตีนให้กับผู้ป่วย 

วิธีง่าย ๆ ที่แนะนำคือ

- เลือกทานอาหารว่างทีละน้อย ๆ แต่เป็นอาหารว่างที่มีประโยชน์ 
ค่อย ๆ ทานได้ตลอดวัน

- เลือกอาหารว่างที่มีโปรตีนสูง เช่น โยเกิร์ต ซีเรียลกับนม แซนวิช 
  ชีส ไข่ขาว

- ถ้ามีผลข้างเคียงจากการรักษา อาหารบางอย่างอาจต้องหลีกเลี่ยง 
เช่น ถ้ามีท้องเสีย ควรเลี่ยงผักผลไม้สด ป็อปคอร์น ถ้ามีแผลในปาก 
ควรเลี่ยงอาหารที่มีความเป็นกรด รสเปรี้ยว อาหารที่แห้ง หรือกรอบ

- แต่ถ้าสามารถรับประทานมื้อปกติได้ดี และควบคุมน้ำหนักตัวได้ดี 
ก็ไม่จำเป็นต้องทานอาหารว่างมากเกินไป

เทคนิคในการเพิ่มแคลอรีและโปรตีน

-ทานอหารเพิ่มจำนวนมื้อมากขึ้น โดยเฉพาะถ้าทานได้ไม่มาก
ในแต่ละมื้อ
-ทานอาหารที่ถูกปาก ทานได้ในเวลาไหนของวันก็ได้ ทานได้เมื่อไหร่ 
ทานลงก็ทานเลย

-เลือกทานอาหารมื้อใหญ่สุดในช่วงเวลาที่หิวที่สุด 
เช่นมักจะหิวตอนเช้าให้ทานมื้อเช้าเป็นมื้อใหญ่มื้อหลัก

-เพิ่มความอยากอาหารโดยการออกกำลังกายเบาๆ 
หรือเดินก่อนมื้ออาหาร

-เลือกเครื่องดื่มที่มีแคลอรีสูง และโปรตีนสูง 
เช่น  milkshake  หรืออาหารเหลวสำหรับผู้ป่วย


ตัวอย่างอาหารที่มีโปรตีนสูง ได้แก่

ผลิตภัณฑ์นม

เพิ่มชีสในอาหาร ทานชีส กับขนมปังหรือแครกเกอร์

เวลาทานอาหารอาจจะโรยชีสลงไปบนอาหารที่ทาน

เลือกใช้นมหรือนมผงเป็นส่วนประกอบอาหารแทนที่จะเป็นน้ำเปล่า

เช่นในแกง หรือในซุปในน้ำผลไม้หรือผลไม้ปั่น

เติมโยเกิร์ตเข้าไปด้วยเพื่อเพิ่มโปรตีน

ไข่ 
ไข่ต้มจะเป็นแหล่งโปรตีนที่ดีมากสำหรับผู้ป่วย
อาจจะหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ และโรยไปบนอาหารอื่น ๆ ที่ทาน
ทำสลัดไข่ง่าย ๆ ราดด้วยน้ำสลัดครีม

เนื้อสัตว์ เนื้อไก่ เนื้อปลา 
ต้มหรือตุ๋นให้เนื้อเปื่อยเพื่อที่จะทานได้ง่ายขึ้น 
พยายามตัดส่วนที่เป็นมันออกไป

ถั่วต่าง ๆ
อาจเลือกเป็นถั่วบด โรยบนอาหารต่าง ๆ
Peanut butter ทานยขนมปังเนย ก็ช่วยได้
หรือจะใช้ถั่วแดงถั่วเขียวทำเป็นของหวานก็ได้เช่นกัน

ตัวอย่างอาหารที่มีแคลอรีสูงได้แก่

เนย หรือมาการีน 
นำไปหุง ผัด กับข้าว กับขนมปัง หรือผัดผักต่างๆ

ผลิตภัณฑ์จากนม 
พวกครีม วิปครีม ใส่เพิ่มลงไปในของหวาน กับขนมปัง หรือผลไม้ก็ได้

น้ำสลัด 
ให้เลือกสลัดครีม หรือมายองเนส จะใช้ทานกับสลัด 
หรือเอาไว้จิ้มกับของว่างก็ได้ครับ

ของหวานต่าง ๆ
พวกเยลลี่ ไอศครีม เค้ก ล้วนแต่มีพลังงานสูงทั้งนั้น

ขอบคุณข้อมูลทั้งหมดโดย : หมอหมี Dr.Carebear Samitivej

แนะนำผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องค่ะ

เบต้ากลูแคน และ กลูต้าแคนอน
 
..................................................
...................................
สอบถามเพิ่มเติม หรือสั่งซื้อสินค้า โทร
089-8323333 / 087-8333444 / 083-768-6868

 

อกกระชับ เต่งตึง…ไม่หย่อนยาน อกกระชับเต่งตึง…ไม่หย่อนยานด้วย บูมบา boomz bar เพิ่มขนาดทรวงอก

Boomz Bar อกกระชับ เต่งตึง…ไม่หย่อนยาน 

อาหารเสริมเพิ่มขนาดทรวงอก  

อกกระชับเต่งตึง…ไม่หย่อนยานด้วย บูมบา 

boomz bar เพิ่มขนาดทรวงอก

อกกระชับเต่งตึง…ไม่หย่อนยาน


วันนี้ เรามีเคล็บเรื่องหน้าอก มาฝากคุณผู้หญิงรักสวยรักงามแล้วค่ะ นั่นคือ วิธีทำให้หน้าอกกระชับ "เต่งตึง" ไม่หย่อนยาน เพราะมีคุณผู้หญิงหลาย ๆ ที่พอเริ่มมีอายุมาก ก็มักจะมีการกังวลกันเรื่อง หน้าอกไม่กระชับ เต่งตึง เรารู้ว่ามีคุณผู้หญิงจำนวนไม่น้อยเลยทีเดียวที่มีความกังวลใจเกี่ยวกับ เรื่องนี้

แต่ปัญหานี้จะหมดเมื่อคุณได้มาเจอเราค่ะ เพราะว่าเรานำ 
วิธีทำให้หน้าอกกระชับ เต่งตึง ไม่หย่อนยาน มาฝากคุณผู้หญิง
ทั้งหลายค่ะ และด้วย วิธีทำให้หน้าอกกระชับ เต่งตึง ไม่หย่อนยาน 
นี้จะช่วยให้คุณมีหน้าอกที่กระชับ เต่งตึง ไม่หย่อนยาน 
อีกต่อไปอย่างแน่นอนเลยค่ะ ถ้ารู้อย่างนี้แล้วเราก็มาดู 
วิธีทำให้หน้าอกกระชับ เต่งตึง กันเลยดีกว่าค่

5 วิธี ทำให้หน้าอกกระชับ เต่งตึง

1. ดูแลหน้าอกตั้งแต่วัยสาว ด้วยการเริ่มใส่เฟิร์สบราเมื่อเริ่มมีหน้าอก

2. สวมใส่บรา เพื่อไม่ให้หน้าอกต้องแบกรับน้ำหนักมากเกินไป 
ยกเว้นตอนนอนไม่ควรใส่

3. เลือกใส่บราให้เหมาะสมกับขนาดของทรวงอก เช่น 
คนหน้าอกใหญ่ควรเลือกบราที่มีแถบลำตัวกว้าง 
สายบ่าหนาเพื่อกระจายการรับน้ำหนัก และกิจกรรม เช่น 
เมื่อออกกำลังกายควรเลือกใช้สปอร์ตบรา 
เพื่อรองรับน้ำหนักของทรวงอกไม่ทำให้ 
เส้นยึดเต้านมทำงานหนักเกินไป

4. มั่นบริหารทรวงอกด้วยท่ากระชับทรวงอก

5. ใช้ครีมกระชับทรวงอก ควบคู่ไปกับนวดกระชับทรวงอก 
ทุกเช้า-เย็น อยู่เสมอนะคะ

Tip


การบริหารทรวงอกให้ได้ผลควรแขม่วท้องขณะทำท่าต่าง ๆ 
และหลังจากบริหาร ควรราดน้ำเย็นที่อก หรือใช้ครีมนวดกระชับทรวงอกเพื่อให้ทรวง อกกระชับและทำให้อกสวย

boomz bar บำรุงทรวงอก
Boomz Bar
เพิ่มขนาดทรวงอก คลิ๊กดูเพิ่มเติม
...............................................




........................................



.........................


โรคอ้วนในผู้หญิง ที่คุณต้องอ่านค่ะ และควรหาวิธี ลดน้ำหนัก อย่างเร่งด่วน แต่เนิ่นๆ

โรคอ้วนในผู้หญิง ที่คุณต้องอ่านค่ะ 

และควรหาวิธี ลดน้ำหนัก 
 
ให้ผอมเพรียว อย่างเร่งด่วน แต่เนิ่นๆค่ะ

โรคอ้วนในผู้หญิง

โรคอ้วน และปัญหาสุขภาพ
เมื่อ เรารับประทานอาหารเข้าไปไม่ว่าจะเป็นประเภทไหน หากพลังงานที่ได้รับเกินความต้องการของร่างกายแล้ว ก็จะเกิดการสะสมอาหารส่วนเกินเหล่านั้นในร่างกาย และปรับเปลี่ยนให้อยู่ในรูปของไขมัน แทรกอยู่ตามอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย หากสะสมมากขึ้นๆ ก็อาจกลายเป็นโรคอ้วนได้ ดังนั้นคนที่อ้วนส่วนใหญ่แล้ว มักจะเกิดจากการที่รับอาหารที่มีพลังงานมาก และไม่สัมพันธ์กับพลังงานที่นำไปใช้ สาเหตุจริงๆ ยังไม่ทราบแน่ชัด โรคอ้วนมักจะมีสาเหตุต่างๆ หลายประการ

โรคอ้วนในผู้หญิง 
อ้วน ลงพุง ต้องลดน้ำหนัก

ผู้หญิงทุกคนไม่ชอบ ความอ้วน และทำไมจึงพยายามที่จะห่างไกล


โรคอ้วน เรื่องร้อนใจของผู้หญิงทุกวัยทุกวันนี้ มีหลากหลายเรื่องราว 

โดยเฉพาะคนทำงานทั่วไปที่ต้องใช้รูปลักษณ์ร่างกาย แต่ปัญหาใหญ่
 
อันดับต้นๆ ที่ทำลายความเชื่อมั่นนั่นคือ ความอ้วน ที่เกิดจากสาเหตุหลัก 
 
คือ ไม่รู้จักยับยั้งตัวเอง กินทั้งที่ยังไม่หิว เดินผ่านตู้เย็นก็หยิบอาหารมากิน 
 
และขาดวินัยในเรื่องการออกกำลังกาย ไม่พยายามเผาผลาญพลังงาน 
 
ชอบใช้บันไดเลื่อนและลิฟต์แทนการขึ้นลงด้วยบันได และความอ้วน 
 
ที่เกิดจากยาบางชนิด เช่น กลุ่มสเตียรอยด์ ยารักษาทางจิต
 
ยาแก้โรคซึมเศร้า ยาลดหงุดหงิด

พญ.นพวรรณ กิติวัฒน์ ให้ความเห็นว่า อาหารการกินที่อุดมด้วยไขมัน
 
และขาดการออกกำลังกาย เป็นตัวการหลักทำให้เกิดสภาวะอ้วน
 
ในหญิงวัยทำงาน ซึ่งเป็นที่มาของแขนขาที่ย้วย กระทั่งพัฒนาไปสู่
 
การเปลี่ยนไซส์ของเสื้อผ้า และก่อให้เกิด โรคอ้วน 
 
ถ้าหากเผลอปล่อยตัวปล่อยใจไปกับอาหารโดยไม่ยับยั้ง 
 
สิ่งที่ตามมาก็คือโรคร้ายที่มาเยือนพร้อมกับ ความอ้วน 
 
เพราะผลกระทบของความ อ้วน ไม่ใช่เพียงแค่รูปลักษณ์ภายนอกเท่านั้น 
 
หากแต่โรคร้ายจะก้าวเข้ามาเยือนเป็นขบวน และยังต้องรักษาเป็นระยะ
 
ต่อเนื่องด้วยค่าใช้จ่ายที่สูง ดังนั้นการป้องกันก่อนที่จะเป็น 
 
โรคอ้วน จึงเป็นสิ่งที่ควรเร่งดำเนินการ



สำหรับโรคที่มากับความอ้วน ส่วนใหญ่จะเป็นโรคข้อกระดูกเสื่อม 
 
ทำให้ปวดข้อ ปวดเข่า ระบบฮอร์โมนผิดปกติ ทำให้ประจำเดือนมาผิดปกติ 
 
คนไข้บางรายมีประจำเดือนทุก 2 หรือ 3 เดือน ทำให้หน้ามัน มีหนวด 
 
สิวขึ้น มีปัญหาผิวหนังแตกลาย คน อ้วน มีโอกาสเสียชีวิตจาก
 
โรคมะเร็งเพิ่มมากขึ้นด้วย

ที่พบมากในผู้หญิงคือ มะเร็งถุงน้ำดี มะเร็งทางเดินน้ำดี 

 
มะเร็งปากมดลูก มะเร็งปีกมดลูกและรังไข่ นอกจากนี้ยัง
 
ส่งผลกระทบทางด้านจิตใจ ก่อให้เกิดภาวะตึงเครียด 
 
สุขภาพทรุดโทรมอีกด้วย

อย่างไรก็ตาม ผู้เชี่ยวชาญพิเศษด้านต่อมไร้ท่อก็แนะนำว่า 
 
สิ่งที่ผู้หญิงในวัยทำงานควรทำก็คือ การรักษาความสมดุลในชีวิต
 
ให้เหมือนกับช่วงที่เป็นนักศึกษา คือ กินแล้วก็ต้องออกกำลังกาย
 
อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 30 นาที เพื่อให้ร่างกาย
 
มีสุขภาพแข็งแรง และไม่เป็น โรคอ้วน ควรกินอาหารให้ถูกสุขลักษณะ
 
หลีกเลี่ยงอาหารที่ให้แคลอรีสูง เช่น อาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตสูง 
 
ไขมันสูง อาหารฟาสต์ฟู้ดแบบตะวันตก ทั้งไก่ทอด ไก่ย่าง เบเกอรี่ 
 
ขนมปังทาเนย และหันมากินอยู่อย่างไทย กินผัก ปลา ผลไม้ 
 
น้ำพริก อาหารไทยนั้นขึ้นชื่อเรื่องส่วนผสมสมุนไพร
 
ที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ทำให้เวลานี้ได้รับความนิยม
 
แพร่หลายในต่างประเทศ

น่าห่วงหญิงท้อง มีแนวโน้มเป็นโรคอ้วนมากขึ้น

เสี่ยงหลายโรค ทั้งแท้ง ภาวะครรภ์เป็นพิษ เส้นเลือดอุดตัน 
 
ข้อมูลจากสำนักข่าวบีบีซีออนไลน์รายงานว่าผู้เชี่ยวชาญ
 
จากประเทศอังกฤษ ออกโรงเตือนว่า แนวโน้มการเป็น
 
โรคอ้วนในผู้หญิงตั้งครรภ์นั้น
 
กำลังเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยคาดการณ์ว่าภายในปี 2010 
 
หญิงตั้งครรภ์จำนวนถึงครึ่งหนึ่งจะเป็นคนที่มีปัญหาภาวะ
 
น้ำหนักเกิน 
และ 1 ใน 5 เป็นโรคอ้วน

จากความกังวลในแนวโน้มปัญหาสุขภาพที่เหล่านักวิจัยระบุว่า
เป็นระเบิดเวลาภัยสาธารณสุขรุนแรงนี้ ผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้ได้เรียกร้อง
ให้มีมาตรการในการหยุดยั้งปัญหาเรื่อง โรคอ้วนและภาวะน้ำหนักเกิน
ในหญิงตั้งครรภ์นี้เสียก่อน

เรื่องนี้นับเป็นปัญหาที่ไม่ค่อยได้รับความสนใจเท่าที่ ควรแม้กระทั่ง
ในปัจจุบันนี้ก็ตาม สำหรับทีมที่ทำการวิจัยเรื่องแนวโน้มโรคอ้วน
ในหญิงตั้งครรภ์นี้เป็นนักวิจัย จากหน่วยงานด้านข้อมูลสาธารณสุข
และสุขภาพของประเทศอังกฤษซึ่งทำการศึกษา ข้อมูลในสตรีอังกฤษ
จำนวน ร่วม 37,000 คนเป็นเวลากว่า 15 ปี

จากการศึกษาพบว่าโรคอ้วนในผู้หญิงตั้งครรภ์ได้เพิ่มสูงขึ้นจาก 9.9% 
ในปี 1990 เป็น 16 %ในปี 2004 และถ้าแนวโน้มนี้ยังคงดำเนินต่อไป
เรื่อยๆ คาดว่าภายในปี 2010 ผู้หญิงตั้งครรภ์จำนวน 22 % 
จะเป็นคนที่เป็นโรคอ้วน ซึ่งจะเป็นภาระแก่หน่วยให้บริการ
ด้านการผดุงครรภ์อย่างมากทีเดียว





สำหรับการมีภาวะน้ำหนักเกินในระหว่างการตั้งครรภ์ นั้นถือเป็นปัญหาสุขภาพที่ สำคัญและก่อให้เกิดความเสี่ยงทั้งต่อทารกในครรภ์และต่อตัวมารดาเองด้วย ทั้งนี้พบว่าคุณแม่ในอนาคตที่เป็นโรคอ้วนนั้นจะมีแนวโน้มในการแท้ง ภาวะครรภ์เป็นพิษชนิดอีแคลมป์เชีย และเส้นเลือดอุดตันชนิดอันตราย ทั้งยังทำให้ต้องผ่าตัดคลอดอีกด้วย สำหรับภาวะครรภ์เป็นพิษชนิดอีแคลมป์เชียนั้นจะมีอาการชักหรือหมดสติ ซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงตายได้

นอกจากนี้ข้อมูลจากประเทศอังกฤษยังระบุด้วยว่าโรคอ้วนนั้นเป็นสาเหตุการตาย 35 % ของการตายจากการตั้งครรภ์ และทำให้ทารกมีความเสี่ยงสูงในการเสียชีวิตด้วยเช่นกัน

ศาสตราจารย์ จอห์น คาโรลีน ซัมเมอร์เบล ซึ่งนำทีมนักวิจัยจากศูนย์เพื่อการวิจัยอาหาร การออกกำลังกาย และโรคอ้วน จากมหาวิทยาลัยแห่ง ทีสไซด์ ประเทศอังกฤษในการทำการศึกษานี้กล่าวว่า เป็นความจำเป็นอย่างเร่งด่วนที่จะต้องทำการศึกษาหาทางหยุดยั้งไม่ให้แนว โน้มนี้ดำเนินต่อไปในอนาคต

ด้านศาสตราจารย์ ฟิล สเตียร์ ซึ่งเป็นบรรณาธิการของวารสารนานาชาติเรื่องโรคอ้วนและสูตินารีเวชศาสตร์ หรือบีเจโอจีซึ่งตีพิมพ์ผลการวิจัยนี้กล่าวว่า เรื่องนี้เป็นระเบิดเวลาปัญหาสาธารณสุขที่ค่อนข้างรุนแรง และเป็นข้อกังวลใจที่สำคัญอันหนึ่งในหมู่นักวิชาชีพและผู้ให้บริการด้านการ ดูสุขภาพ

ในขณะที่ทรัพยากรของระบบบริการสุขภาพแห่งชาติหรือ เอ็นเอชเอสขยายออกไปมากขึ้น มีความจำเป็นอย่างมากในจำกัดระดับของปัญหานี้ในอนาคต หากลุ่มเสี่ยงต่าง ๆให้ได้ เพื่อช่วยให้ระบะการให้บริการสุขภาพมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ทางด้าน เกล จอห์สัน จากราชวิทยาลัยผดุงครรภ์กล่าวว่า กลุ่มที่ถูกกีดกันทางสังคมกำลังเผชิญปัญหาในการบำรุงรักษาสุขภาพและปัญหา โรคอ้วนซึ่งอาจทำให้การสร้างสุขภาพมีความยุ่งยากมากขึ้นไปอีกในกลุ่มนี้

เราอยากเรียกร้องให้ผู้หญิงที่มีความกังวลใจเรื่องน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นให้ รีบปรึกษาพยาบาลผดุงครรภ์ และให้ความสำคัญกับปัญหาเรื่องน้ำหนักนี้กันให้มากขึ้น


Click..ดูอาหารเสริมลดน้ำหนักแนะนำ


..........................................




การลดน้ำหนัก มีปัจจัยที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพ แต่ละบุคคลที่แตกต่างกัน ดังนั้นต้องดูปัจจัย การลดน้ำหนัก ให้ดี

ความเสี่ยงแต่ละบุคคล ในการลดน้ำหนัก

คุณอาจตัดสินใจลดน้ำหนัก 


โดยพิจารณาจากขนาดของรอบเอว

 

หรืออาจทำโดยการเปรียบเทียบค่าดัชนีมวลร่างกาย

กับเกณฑ์มาตรฐาน แต่ผู้เชี่ยวชาญด้าน การลดน้ำหนัก

สุขภาพใช้เกณฑ์การวัดต่างๆ มากกว่านี้ในการวิเคราะห์น้ำหนักตัว

รวมถึงพิจารณาปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับน้ำหนักตัว

เกินก่อนจะบอกว่าคุณมี น้ำหนักตัว ที่ควร ลดน้ำหนัก หรือไม่

อยู่ในเกณฑ์ของการมีสุขภาพของการมีสุขภาพที่ดีหรือไม่

•    อายุเกิน 45 ปีสำหรับเพศชาย และ 55 ปีสำหรับเพศหญิง

•    โรคข้อเข่า และสะโพก

•    ประวัติครอบครัว กรณีมีปัญหาสุขภาพอันเนื่องมาจากการมีน้ำหนักตัวเกิน

•    ประวัติครอบครัว กรณีมีปัญหาสุขภาพอันเนื่องมาจากการมีน้ำหนักตัวเกิน

•    ประวัติครอบครัว กรณีมีการเสียชีวิตจากโรคหัวใจก่อนอายุขัย
(ต่ำกว่า 55 ปีสำหรับเพศชาย และ ต่ำกว่า 65 ปีสำหรับเพศหญิง)

•    ความดันโลหิตสูง

•    คอเลสเตอรอลในเลือดสูง

•    น้ำตาลในเลือดสูง

•    ปัญหาระบบหายใจ

•    การสูบบุหรี่

ถ้าคุณมีปัญหาเสี่ยงอย่างใดอย่างหนึ่งดังกล่าวข้างต้น

แม้ว่าคุณจะมีน้ำหนักตัวอยู่ในเกณฑ์น้ำหนักสุขภาวะก็ตาม

แต่ผู้เชี่ยวชาญด้านการดูแลสุขภาพอาจแนะนำ

ให้คุณลดน้ำหนักตัวลงประมาณ 5-10 % ของน้ำหนักตัว

เพื่อปรับปรุงสุขภาพให้ดีขึ้นและลดปัจจัยที่เป็นต้นเหตุ

ของการเกิดโรคลง แต่ถ้าคุณเป็นคนที่กำลังตั้ง

ครรภ์หรือกำลังให้นมบุตร หรือมีอายุต่ำกว่า 18 ปี

ไม่ควรคิดถึงเรื่องการลดน้ำหนักตัว

ใช้วิธีการที่ทันสมัยใหม่ล่าสุด


ค่าดัชนีมีมวลร่างกาย (BMI) และขนาดของรอบเอว

ทำให้คุณสามารถเปรียบเทียบน้ำหนักตัวของคุณ

กับเกณฑ์น้ำหนักสุขภาวะได้อย่างรวดเร็ว แต่คุณอาจจะ

เคยอ่านเจอวิธีการอื่นๆ ที่ใช้คำนวณหาไขมันในร่างกายแบบแปลกๆ


การชั่งน้ำหนักใต้น้ำ

การชั่งน้ำหนักใต้น้ำ เป็นวิธีการวัดที่ให้ค่าถูกต้องมากที่สุด

ในการบอกปริมาณไขมันของร่างกายเป็นร้อยละ

แต่เป็นวิธีที่ให้ผลในทางปฏิบัติน้อยที่สุด เนื่องจากต้องใช้อุปกรณ์

ที่มีความละเอียดซับซ้อนและทำที่ศูนย์วิจัยของมหาวิทยาลัย

วิธีการนี้อาศัยสมมุติฐานการลอยตัวของไขมัน

ลองคิดถึงน้ำมันที่ลอยอยู่ในน้ำสลัดที่อยู่ในขวด

คุณจะสามารถบอกได้ว่าร่างกายมีไขมันมากน้อยเท่าไร

แต่จะบอกไม่ได้ถ้าร่างกายจมลงใต้น้ำ

ในการหาไขมันในร่างกายในลักษณะนี้

คุณจะต้องนั่งในถังขนาดใหญ่ที่มีน้ำบรรจุอยู่เต็ม

และนั่งในเก้าอี้พิเศษที่มีเข็มขัดคาดอยู่รอบเอว

เจ้าหน้าที่เทคนิคที่ได้รับการฝึกมาจะทำให้ตัวของคุณจมลงใต้ผิวน้ำ

ขณะที่คุณหายใจเอาอากาศออกจากปอด

คุณต้องอยู่ใต้น้ำประมาณ 10 วินาทีเพื่อเจ้าหน้าที่

จะสามารถทำการบันทึกน้ำหนักของคุณได้

และจะทำเช่นนี้อยู่ประมาณ 8-10 ครั้งเพื่อหาค่าน้ำหนักเฉลี่ยของคุณ

ในการวัดปริมาตรของร่างกาย เจ้าหน้าที่จะคำนวณค่าต่าง

ระหว่างน้ำหนักของร่างกายที่วัดบนบกกับน้ำหนักของร่างกาย

ที่วัดใต้ผิวน้ำ จากนั้นจะทำการคำนวณความหนาแน่นของร่างกาย

ด้วยการหารมวลน้ำหนักของร่างกายด้วยปริมาตรของน้ำที่เข้ามาแทนที่

ลบด้วยอากาศที่เหลืออยู่ในปอด

หลังจากคำนวณความหนาแน่นแล้ว เจ้าหน้าที่จะใช้อีกสูตรหนึ่ง

เพื่อคำนวณหาร้อยละของไขมันในร่างกาย


ความหนาของชั้นผิวหนัง (Skin-fold thickness)

การวัดความหนาของชั้นผิวหนังเป็นวิธีการที่ง่ายในการ

หาร้อยละของไขมันในร่างกายโดยแพทย์ผู้มีประสบการณ์

ทำการวัดจะสามารถหาค่าร้อยละไขมันทั้งหมดของร่างกาย

ได้อย่างถูกต้อง วิธีการวัดแบบนี้อาจให้ผลที่ไม่ถูกต้อง

ถ้าบุคคลที่ทำการวัดขาดประสบการณ์หรือทักษะในการวัด

หรือทำการวัดในคนชราหรือคนที่มีน้ำหนักตัวเกิน

มากๆผลสัพธ์ที่ได้อาจแตกต่างกันอย่างมาก

ในการหาค่าร้อยละของไขมันในร่างกายโดยการใช้

วิธีการทดสอบความหนาของชั้นไขมันคนที่ได้รับการฝึกอบรม

ใช้เครื่องมือวัด เช่น แพทย์ นักโภชนาการ เจ้า

หน้าที่ศูนย์สุขภาพ จะสามารถตรวจวัดความหนาของชั้นผิวหนัง

ของคุณด้วยการใช้คาลิเปอร์ที่แขนส่วนบน หลังส่วนบน

หลังส่วนหลัง ท้อง และ ต้นขาส่วนบน

เจ้าหน้าที่จะทำการวัดสองเซตเพื่อหาค่าเฉลี่ยของแต่ละเซต

จากนั้นจะทำการแปลงค่าเป็นมิลลิเมตรจากค่าที่คาลิเปอร์อ่าน

และใส่ตัวเลขเหล่านั้นลงในสูตรการ

คำนวณเพื่อหาร้อยละของไขมันทั้งหมดในร่างกาย


ความต้านทานไฟฟ้าชีวภาพ (Bioelectrical impedance)

คำว่า Bioelectrical impedance ฟังดูอาจไม่คุ้นนัก

แต่วิธีนี้ก็เป็นวิธีที่สามารถวัดได้อย่างถูกต้องและใช้งานง่าย

แต่ก็อาจให้ผลที่ไม่ถูกต้องได้ถ้าบุคคล

นั้นอยู่ในสภาวะที่ร่างกายขาดน้ำร่างกายบวมน้ำ อ้วนมากๆ

หรือ เป็นคนชราที่มีไขมันในร่างกายน้อย

เจ้าหน้าที่ที่ได้รับการฝึกมาจะอ่านค่าจากเครื่องวัด

ซึ่งจะปล่อยกระแสไฟฟ้ผ่านร่างกายในปริมาณที่ไม่เป็นอันตราย

เพื่อวัดปริมาณน้ำในร่างกายทั้งหมด ซึ่งจะสะท้อน

ให้เห็นถึงปริมาณกล้ามเนื้อของร่างกาย

(กล้ามเนื้อประกอบด้วยน้ำ ส่วนไขมันประกอบด้วยน้ำเล็กน้อยเท่านั้น)

ในการหาไขมันในร่างกาย เจ้าหน้าที่

จะทำการหาค่าต่างระหว่างน้ำหนักของร่างกายกับเนื้อเยื่อ

ของกล้ามเนื้อ นำวิธีการทั้งหมดรวมเข้าด้วยกัน

ให้กลับไปดูที่ดัชนีมวลร่างกาย (BMI) ขนาดของรอบเอว

ร้อยละของไขมันในร่างกาย (ถ้าคุณได้เข้าถึงวิธีการวัดนี้)

น้ำหนักสุภาวะ หรือ น้ำหนักตัวเกิน

น้ำหนักสุขภาวะ น้ำหนักตัวเกิน

BMI 19-24.9 มากว่า 25

ร้อยละไขมันในร่างกาย เพศหญิง 15-25 มากกว่า 25

เพศชาย 10-20 มากกว่า 20

ขนาดของรอบเอว เพศหญิง เปลี่ยนแปลง มากกว่า 35 นิ้ว
ความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้น เมื่อจับคู่กับค่า BMI เกิน 25
เพศชาย เปลี่ยนแปลง มากกว่า 40 นิ้ว

ความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้น เมื่อจับคู่กับค่า BMI เกิน 25

บางที คุณอาจไม่จำเป็นต้องลดน้ำหนัก

ถ้าน้ำหนักตัวของคุณอยู่ในเกณฑ์น้ำหนักสุขภาวะ

ถ้าน้ำหนักตัวของคุณเพิ่มน้อยกว่า 5 กก. ที่ความสูงในวัยผู้ใหญ่

และ ถ้าคุณมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงอยู่แล้ว แต่คุณสามารถ

ได้รับผลดีจากการลดน้ำหนัก ถ้าคุณมีน้ำหนักตัวเกิน และคุณ

•    มีไขมันรอบเอวมากเกินไป

•    มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพอันเนื่องจากมีน้ำหนักตัวมาก

•    ครอบครัวมีประวัติเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพอันเนื่องจากมีน้ำหนักตัวเกิน

แพทย์อาจจะแนะนำให้คุณลดน้ำหนักตัวลงเล็กน้อย

แม้ว่าน้ำหนักตัวของคุณจะอยู่ในเกณฑ์น้ำหนักสุขภาวะ

ทั้งนี้เองจากการมีน้ำหนักตัวมากอาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิด

โรคอย่างเช่น โรคเบาหวาน ความดันสูง และโรคไขข้อ

การลดน้ำหนักตัวลงมา และสามารถรักษาน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์

น้ำหนักสุขภาวะจะช่วยลความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาด้านสุขภาพ

อีกทั้งยังทำให้เกิดความรู้สึกที่ดีขึ้น ร่างกายกระปรี้กระเปร่า

กระฉับกระเฉงมากขึ้น รวมถึงความมั่นใจในตัวเองเพิ่มมากขึ้น

การประเมินน้ำหนักตัวจากร้อยละของไขมันในร่างกาย

ถ้าคุณมีโอกาสที่จะวัดไขมันในร่างกายด้วยวิธีการชั่งน้ำหนักตัวใต้น้ำ

การวัดความหนาของชั้นผิวหนัง หรือ ด้วยวิธีความต้านทานไฟฟ้าชีวภาพ

(Bioelectrical impedance) คุณสามารถใช้แนวทางต่อไปนี้

ในการประเมินน้ำหนักตัวของคุณได้ ร้อยละไขมันในร่างกายเพศหญิง

ปกติ ร้อยละ 15 – 25

น้ำหนักตัวเกิน ร้อยละ 25.1 – 29.9

อ้วน เกินกว่าร้อยละ 30

เพศชาย

ปกติ ร้อยละ 10 – 20

น้ำหนักตัวเกิน ร้อยละ 20.1 – 24.4

อ้วน เกินกว่าร้อยละ 25

sp fiber ลดน้ำหนัก
ดูอาหารเสริมลดน้ำหนักเพิ่มเติม